Page 4 - BrochureThaiLow
P. 4

ปญหาของประเทศ

                                                 ที่ตองใช “นวัตกรรม”

                                                       เขามามีบทบาทแกไข
                                                                                                              ศักยภาพดานนวัตกรรมของประเทศไทยในเวทีโลก




                                                                                                          ความสามารถทางดานนวัตกรรมของประเทศไทย นับวามีความโดดเดนไมเปน

            ปญหาหลักที่ฉุดรั้งการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอมของ                            รองใคร หากดูจากผลการจัดอันดับดัชนีนวัตกรรมโลก (Global
            ประเทศไทย ประกอบดวย                                                                          Innovation Index: GII) ซึ่งจัดโดยองคการทรัพยสินทางปญญาแหงโลก
                                                                                                          (WIPO) รวมกับมหาวิทยาลัยคอรเนล และ The Business School for the World
                                                                                                          (INSEAD) เพื่อวัดระดับความสามารถทางดานนวัตกรรมและการเปรียบเทียบ

                        ปญหากับดักรายไดปานกลาง (Middle Income                                           เชิงแขงขันทางดานนวัตกรรมของแตละประเทศ โดยเฉพาะในสถานการณที่
                        Trap Issue) ซึ่งเปนผลจากวิกฤตตางๆ ที่เกิดขึ้น ปจจัยตนทุน                      การแขงขันทางการคาและการลงทุนจากตางประเทศตองเผชิญกับความทาทาย
                        ปจจัยการผลิตที่สูงขึ้นที่ไมสามารถแขงขันดวยการผลิตสินคา                       จากบริบทโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลงอยางรุนแรง รวมถึงการแพรระบาดของ
                        ตนทุนต่ำ รวมถึงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจแบบเดิมที่ทำใหประเทศ                        เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และวิกฤตภาวะโลกรอนที่สงผลกระทบตอชีวิตความเปนอยู
                        ไมสามารถหลุดพนการเปนประเทศรายไดปานกลางไปได                                   ของประชาชนและเศรษฐกิจทั้งโลก



                                                                                                                          สถิติที่นาสนใจของประเทศไทย
                        ปญหาความเหลื่อมล้ำ (Inequality Issue) รายไดของ                                                  จากดัชนีนวัตกรรมโลก
                        กลุมคนรายไดนอยที่ไมพอเพียงตอการใชชีวิตประจำวัน และมีการ                                     (Global Innovation Index: GII)
                        วางงานที่เพิ่มสูงขึ้น ความเหลื่อมล้ำในการเขาถึงการใหบริการ                                     ประจำป 2563
                        แกประชาชนในดานตางๆ ความเหลื่อมล้ำในการเขาถึงโอกาสดาน
                        การศึกษาอยางเทาเทียมกัน รวมถึงความเหลื่อมล้ำทางรายได
                        ของกลุมประชากรผูสูงอายุ                                                            อันดับที่
                                                                                                            44        จาก 131 ประเทศทั่วโลก



                        ปญหาดานสิ่งแวดลอม (Environmental Issue)
                        เปนผลจากการพัฒนาประเทศที่ไมสมดุล มุงเนนการเติบโตทาง                               อันดับ  ปจจัยคาใชจายมวลรวมภายในประเทศสำหรับการวิจัย
                        เศรษฐกิจเพียงดานเดียว มีการขยายตัวของโรงงานอุตสาหกรรม                                1       และพัฒนา ซึ่งลงทุนโดยองคกรธุรกิจตางๆ
                        ตางๆ ที่เกิดการปลอยมลพิษออกสูธรรมชาติ รวมถึงการนำ
                        ทรัพยากรธรรมชาติมาใชอยางฟุมเฟอยโดยไมมีการนำกลับไป
                        ทดแทน กอใหเกิดปญหาการทำลายธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่                                อันดับ
                        รุนแรงมากขึ้น                                                                         1       ปจจัยการสงออกสินคาสรางสรรค




               แลวประเทศไทยมีความสามารถทางดานนวัตกรรมเพียงพอ                                               อันดับที่  ในกลุมประเทศกลุมรายไดปานกลางระดับบน

                          ที่จะเขามาแก “ปญหา” เหลานี้ไดหรือไม                                           4       (upper middle-income economies) จาก 37 ประเทศ
                                                                                                                      (อันดับ 1-3 ไดแก จีน มาเลเซีย บัลแกเรีย)




        02                                                                                                                                                                        03
   1   2   3   4   5   6   7   8   9